ยินดีต้อนรับค่ะ

ยินดีต้อนรับค่ะ

วันเสาร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

การออกแบบระบบการสอน

การออกแบบระบบการสอน (ISD : Instructional System Design หรือ ID : Instruction Design)
วันที่ ๑๐ เดือน ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๘

การออกแบบระบบการสอน (ISD : Instructional System Design หรือ ID : Instruction Design)
          หมายถึง การจัดระบบการสอนอย่างมีระบบ โดยอาศัยความรูเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ซึ่งรวบรวมองค์ประกอบและปัจจัยตาง ๆ   เพื่อนําไปสู่กระบวนการตัดสินใจออกแบบระบบแลว
  จึงทำการทดลองและปรับปรุงแกไขจนใชไดผล เปนการนําไปสูความสําเร็จของการเรียนรู้ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว กระบวนการออกแบบระบบการสอนจะประกอบไปดวยหลักพื้นฐาน
4 สวน ดังตอไปนี้
1. วัตถุประสงคเปนสวนที่กําหนดวัตถุประสงคการเรียนรู้ของผูเรียน
2. ผูเรียน โดยพิจารณาคุณสมบัติของผูเรียน เพื่อการออกแบบระบบการสอนใหเหมาะสม
3. วิธีการและกิจกรรม กําหนดวิธีการและกําหนดกิจกรรมในกระบวนการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ

4. การวัดและประเมินผล เปนการกําหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนใหสอดคลองตามวัตถุประสงค์

SDLC เป็นตัวย่อมาจาก Systems Development Life Cycle
      วัฎจักรการพัฒนาระบบงาน (System development Life Cycle : SDLC
    ในการพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์กรจะต้องมีการวิเคราะห์กระบวนการทํางานของ องค์กร เราเรียกว่า System development Life Cycle (SDLC) การพัฒนาระบบในองค์กรเป็นหน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบที่จะต้องทําการติดต่อ กับหน่วยงานที่ต้องการพัฒนาระบบสารสนเทศ ว่าการทํางานมีองค์ประกอบอะไรบ้าง เช่นขนาดขององค์กร รายละเอียดการทํางาน ถ้าเป็นบริษัทขนาดใหญ่นักวิเคราะห์จะต้องเข้าใจให้ชัดเจนเกี่ยวกับมาตรฐาน การทํางาน กระบวนการทํางาน


ที่มา http://www.swpark.or.th/sdlcproject/index.php/14-sample-data-articles/79-sdlc


ผลลัพธการเรียนรู (Learning Outcomes) คืออะไร
       ผลลัพธการเรียนรู (Learning Outcomes) หมายถึง พฤติกรรมที่ผูเรียนสามารถแสดงออกเปนรูปธรรมและสามารถวัดและประเมินผลได ผลลัพธการเรียนรูเปนความสำเร็จ (Achievement) ของผูเรียนหลังจากจบการเรียนรูในแตละบทเรียน ชุดวิชา รายวิชา กิจกรรมเสริมหลักสูตร และหลักสูตร อีกนัยหนึ่งคือ สิ่งที่ผูเรียนตองสามารถทำไดหลังกระบวนการการเรียนรูแตละบทเรียน รายวิชา หลักสูตร ฯลฯ โดยพฤติกรรมเหลานั้นเปนสิ่งที่ผูเรียนไมเคยทำไดมากอนและหรือไดรับการพัฒนา
ใหดีขึ้น จากความหมายของผลลัพธการเรียนรูขางตน ผลลัพธการเรียนรูที่นอกจากจะตองเปนพฤติกรรมที่ผูเรียนตองทำได (Active) สำเร็จ (Achievable) วัดและประเมินผล ได (Assessed) ผลลัพธการเรียนรูในหลักสูตรหนึ่งๆ ตองมีความเชื่อมโยงและสัมพันธกัน (Aligned) ในทุกระดับตั้งแตบทเรียน รายวิชา หลักสูตร ฯลฯ

ผลลัพธการเรียนรูของหลักสูตร (Curriculum Learning Outcomes) คืออะไร
ผลลัพธการเรียนรูของหลักสูตร (Curriculum Learning Outcomes) มีความหมายเชนเดียวกับผลลัพธการเรียนรูที่กลาวมาแลวขางตน แตผลลัพธการเรียนรูของ
หลักสูตรเปนความคาดหวังพฤติกรรมที่เปนรูปธรรมของผูเรียนที่เปนผลสำเร็จ แสดงออกถึงความรูและความเขาใจที่เกิดจากกระบวนการเรียนรูตลอดหลักสูตร ผลลัพธ
การเรียนรูของหลักสูตรจะเปนขอความอธิบายพฤติกรรมอยางกวางๆ สะทอนเปาประสงคบัณฑิตตามปรัชญาของหลักสูตร คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคของมหาวิทยาลัย
และหรือกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาแหงชาติ (Thai Qualifications Framework) และกรอบมาตรฐานวิชาชีพของสาขาหรือหลักสูตร
ในขณะที่ผลลัพธการเรียนรูของแตละวิชาจะเปนพฤติกรรมจำเพาะของผูเรียนแตละขั้นที่จะกาวไปสูผลลัพธการเรียนรูของหลักสูตร กลาวคือความสำเร็จของผูเรียนตาม
ผลลัพธการเรียนรูจำเพาะในระดับบทเรียน ชุดวิชา รายวิชา หรือกิจกรรมเสริมหลักสูตร จะเปนหลักประกันความสำเร็จของผูเรียนในระดับหลักสูตร
ความสัมพันธเชื่อมโยงของผลลัพธการเรียนรูของรายวิชาและของหลักสูตรในลักษณะเชนนี้ นอกจากจะเปนการแสดงถึงความสอดคลองเปนหนึ่งเดียว (Coherence)
ของบทเรียน ชุดวิชา รายวิชาฯลฯ ในหลักสูตร ความสัมพันธเชื่อมโยงของผลลัพธการเรียนรูพัฒนาเปนลำดับขั้นยังแสดงถึงความสำคัญและจำเปนของบทเรียน ชุดวิชา
รายวิชา ฯลฯ เพื่อพัฒนาบัณฑิตตามปรัชญาของหลักสูตร
http://www.fis.psu.ac.th/download_file/แนวทางการเขียน-LO.pdf

ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)
            ผลการเรียนรู้ เป็นสิ่งที่สะท้อนถึงความสามารถในการเรียนรู้  ทัศนคติ  ทักษะด้านปัญญา รวมไปถึงความรู้ของผู้เรียน  อันเกิดจากการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งใน และนอกห้องเรียน  อย่างไรก็ตาม ผลการเรียน นอกจากจะเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จในการเรียนแล้ว   ยังเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จในการสอนของครูอีกด้วย

ที่มา: http://www.thaischool.in.th/monpit/data-8041/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น